• Medientyp: E-Book
  • Titel: ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจบริโภคอาหารท้องถิ่นของนักท่องเที่ยวไทย โดยมีความกลัวอาหารแปลกใหม่เป็นตัวแปรคั่นกลาง (Factory Affecting Local Food Consumption Intention of Thai Tourist with Food Neophobia as a Mediator
  • Beteiligte: Jantarakolica, Tatre [Verfasser:in]; Jantarakolica, Kobkul [Verfasser:in]; Sukhaparamate, Supawat [Verfasser:in]; Sajjanit, Chonlada [Verfasser:in]; Teekasap, Pard [Verfasser:in]; Phencharoenkit, Rapheephorn [Verfasser:in]
  • Erschienen: [S.l.]: SSRN, [2023]
  • Umfang: 1 Online-Ressource (9 p)
  • Sprache: Thailändisch
  • DOI: 10.2139/ssrn.4536942
  • Identifikator:
  • Schlagwörter: Local Food Consumption Intention ; Food Neophobia ; Tourist
  • Entstehung:
  • Anmerkungen: In: Journal of Interdisciplinary Research: Graduate Studies, Vol. 11, No. 2
    Nach Informationen von SSRN wurde die ursprüngliche Fassung des Dokuments July 1, 2022 erstellt
  • Beschreibung: Thai Abstract:การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจบริโภคอาหารท้องถิ่นของนักท่องเที่ยวไทย และศึกษาความกลัวอาหารแปลกใหม่เป็นตัวแปรคั่นกลางของความตั้งใจบริโภคอาหารท้องถิ่น โดยมีกรอบแนวคิดของงานวิจัยประยุกต์จาก ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน วิธีการสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นแบ่งชั้นภูมิ จำนวน 477 คน จากนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีประสบการณ์ท่องเที่ยวต่างประเทศ เพื่อตอบแบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Random Effects Regression ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจบริโภคอาหารท้องถิ่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ การรับรู้จากการอ่านรีวิวอาหารท้องถิ่น รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในอาหารท้องถิ่น และความกลัวอาหารแปลกใหม่ ความกลัวอาหารแปลกใหม่เป็นตัวแปรคั่นกลางระหว่างความรู้เกี่ยวกับอาหารท้องถิ่น ประสบการณ์เกี่ยวกับอาหารท้องถิ่น การรับรู้จากการอ่านรีวิวอาหารท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมในอาหารท้องถิ่นกับความตั้งใจบริโภคอาหารท้องถิ่น

    English Abstract:The objective of this research was to study the factors affecting the local food consumption intention with food neophobia as a mediator. The conceptual framework developed by the planned behavioral theory. The data were collected from 477 samples which were suitable for data analysis with STATA program by using Random Effects Regression technique by Stratified Sampling from Thai tourist. A questionnaire was used as a tool to collect data online. The research results were found that: 1) Perception from food review was affecting to the local food consumption intention 2) Food involvement was affecting to the local food consumption intention and 3) Food neophobia was affecting to the local food consumption intention. Food neophobia was a mediator between knowledge of local food, experience of local food, perception from review, and food involvement to the local food consumption intention
  • Zugangsstatus: Freier Zugang